ขยายหน้าจอ
เครื่องมือ
ธนาคาร
道具中心
ระบบเหรียญ
สถิติฟอรั่ม
สถิติทั้งหมด
ipstate
ทีมงาน
管理统计
ออนไลน์
สมาชิก
ฟอรั่ม
โพสต์
คำค้น
ช่วยเหลือ
ลงทะเบียน
ชื่อผู้ใช้
UID
Email
ชื่อผู้ใช้
รหัสผ่าน
จำฉันไว้
เข้าสู่ระบบ
ลืมรหัสผ่าน
ลงทะเบียน
เมนูส่วนตัว
ปิด
กรุณาเข้าสู่ระบบเพื่อใช้งานส่วนนี้
เข้าสู่ระบบ
ถ้ายังไม่มีไอดี กรุณา
ลงทะเบียน
หน้าแรก
สารานุกรม
คำนวณ
โพสต์
บทความ
ผู้ใช้
ฟอรั่ม
โพสต์
ค้นหา
Karmins สารานุกรม,นานาสาระ,การศึกษา
>
ความรู้ทั่วไป
>
ระวัง 'เห ..
ตั้งกระทู้
ตอบกลับ
กลับไปยังรายการ
2063
เข้าชม
0
ตอบกลับ
[สุขภาพ]
ระวัง 'เห็ดป่า' ไม่รู้จัก กินแล้วตาย
[คัดลอกลิงค์]
ถอยกลับ
ถัดไป
ออฟไลน์
karminsc
UID:1
สมัครเมื่อ
2011-12-26
ใช้ล่าสุด
2017-11-28
โพสต์
376
ดูโพสต์ทั้งหมด
สำคัญ
1
สเปซ
ติดตาม
ไอเทม
ผู้ดูแลระบบ
ปิด
เหรียญส่วนตัว ระบบใหม่ของเว็บ
ดูเหรียญทั้งหมด
ทราบแล้ว
ติดตาม
ข้อความ
เฉพาะโพสต์แรก
ลำดับปกติ
เครื่องมือ
ลิงก์โพสนี้
โพสต์เมื่อ: 2012-05-18
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์กระทรวงสาธารณสุข เตือนประชาชนที่นิยมบริโภคเห็ดโดยเฉพาะเห็ดป่าหรือเห็ดที่ขึ้นเองตามธรรมชาติ ควรเลือกรับประทานเห็ดที่รู้จักจริงๆเท่านั้นเพราะในแต่ละปีจะมีผู้ป่วยหรือเสียชีวิตที่มีสาเหตุมาจากการรับประทานเห็ดพิษ
สภาพภูมิอากาศของประเทศไทยโดยเฉพาะช่วงหน้าฝนเหมาะสมต่อการเจริญพันธุ์ของพืชตระกูลเห็ดทำให้มีเห็ดป่าหลายชนิดที่เจริญเติบโตในสภาพธรรมชาติประกอบกับคนไทยนิยมบริโภคเห็ด เนื่องจากเป็นอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูงแต่ทั้งนี้เห็ดต่างๆ บางชนิดไม่สามารถรับประทานได้เนื่องจากมีสารพิษเป็นส่วนประกอบอยู่เมื่อรับประทานเข้าไปก็อาจทำให้เกิดอาการมึนเมาและประสาทหลอนหรือบางรายบริโภคมากเกินไปก็อาจถึงขั้นเสียชีวิตได้สำหรับเห็ดพิษในประเทศไทยส่วนใหญ่จะอยู่ในสกุลอะมานิต้า (Amanita)ซึ่งเป็นเห็ดที่มีพิษร้ายแรง มีหลายชนิดด้วยกัน เช่น
เห็นระโงกหิน
หรือในภาคเหนือเรียกว่า เห็ดไข่ตายซาก
ขึ้นเป็นดอกเดี่ยวกระจายทั่วไปตามป่าเบญจพรรณ ดอกมีสีขาวบริสุทธิ์หมวกเห็ดรูปครึ่งวงกลมสีขาวกว้าง 5-12 ซม. ผิวเรียบรูปกระทะคว่ำครีบสีขาวไม่ติดกันกับก้าน มีวงแหวนเป็นแผ่นบางสีขาวห้อยลงมาคล้ายม่านก้านสีขาว โคนก้านเป็นกระเปาะผิวเรียงสปอร์สีขาว เป็นเห็ดที่มีพิษร้ายแรงเมื่อรับประทานเข้าไปพิษจะเข้าสู่กระแสเลือดทำให้เกิดอาการปวดท้องอย่างรุนแรง อาเจียน ใจสั่ อ่อนเพลียสารพิษที่ตรวจพบในเห็ด คือ ฟาลโลทอกซิน (phallotoxin) และอะมาทอกซิน(amatoxin) มีฤทธิ์ทำลายเซลลด์ตับ ผู้ป่วยจะมีอาการดีขึ้นระยะหนึ่งหลังจากนั้นจะกำเริบจนถึงขั้นเสียชีวิตอาจภายใน 4-6 ชั่วโมง
เห็ดหัวกรวดครีบเขียวอ่อน หรือ เห็ดกระโดงตีนต่ำ
ดอกเห็ดเมื่อยังอ่อนยังเป็นก้อนกลมแล้วเจริญบานออกเป็นร่มขึ้นตามสนามหญ้าและทุ่งนา หมวดเห็ดสีขาวกว้าง 10-20 ซม. กลางหมวกมีสีน้ำตาลซี่งแตกออกเป็นเกล็ดรูปสี่เหลี่ยมกระจายออกไปถึงกึ่งกลางหมวกครีบสีขาวเมื่อแก่จัดจะเป็นสีเทาอมเขียวหม่น ก้านรูปทรงประกอบสีขาวโคนก้านใหญ่เป็นกระเปาะเล็กน้อยใต้หมวกมีวงแหวนใหญ่และหนา ขอบสีน้ำตาลขอบล่างสีขาว สปอร์รูปไข่สีเขียวอ่อนเป็นเห็ดที่มีพิษไม่ร้ายแรงนักผู้รับประทานจะมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน หน้ามืด ตาลาย ใจสั่นและอ่อนเพลียแต่ถ้าเป็นเด็กและรับประทานมากก็อาจทำให้เสียชีวิตได้
เห็ดมีพิษในธรรมชาติหลายชนิดมีความคล้ายคลึงกับเห็ดที่รับประทานได้จนยากที่จะจำแนกได้ว่าเห็ดชนิดใดมีพิษหรือไม่มีพิษและไม่ควรนำเห็ดที่ไม่รู้จักและไม่ทราบชื่อแหล่งที่มาอย่างชัดเจนมาปรุงอาหารรับประทานดังนั้นหากไม่แน่ใจไม่ควรเก็บเห็ดนั้นมาปรุงอาหารโดยเฉพาะเห็ดป่าหรือเห็ดที่เราไม่คุ้นเคย ซึ่งมีโอกาสเกิดพิษได้มากกว่าเห็ดทั่วไป เพราะถ้าเป็นเห็ดพิษจะทำให้เป็นอันตรายต่อชีวิตได้
นอกจากนี้หากพบเห็นผู้ป่วยที่ได้รับพิษจากเห็ดควรพยายามให้ผู้ป่วยอาเจียนเอาเห็ดพิษออกมาให้หมดโดยการล้วงคอหรือกรอกด้วยไข่ขาว แล้วรีบนำผู้ป่วยส่งโรงพยาบาลทันทีพร้อมกับนำเห็ดที่รับประทานส่งไปด้วยเพื่อแพทย์จะได้ตรวจและทำการรักษาอย่างถูกต้องต่อไป
ที่มา:
หนังสือพิมพ์คมชัดลึก เรียบเรียงข้อมูลจากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
ทั้งหมด
คะแนน
แบ่งปัน
淘江湖
新浪
QQ微博
QQ空间
开心
人人
豆瓣
网易微博
百度
鲜果
白社会
飞信
สวัสดีครับ ขอต้อนรับเข้าสู่ karmins.com ครับ
ตอบ
แจ้งลบ
ตั้งกระทู้
ตอบกลับ
กลับไปยังรายการ
http://www.karmins.com/edu
การเข้าถึงเนื้อหาที่เกินขอบเขตของเว็บไซต์นี้ไม่แน่ใจว่ามันมีความปลอดภัย
ดำเนินการต่อไป
ยกเลิก
กล่องตอบกลับด่วน
จำกัด255 ตัวอักษร
กรุณาใช้ข้อความที่สุภาพ คุณสามารถบันทึกฉบับร่างได้
คุณไม่มีสิทธิ์ใช้งานส่วนนี้, กรุณา
เข้าสู่ระบบ
หรือ
ลงทะเบียน
สลับไปใช้ระบบโพส
สีข้อความ
ตั้งกระทู้
กลับไปยังหน้าแรก
ถอยกลับ
ถัดไป
ซ่อน
กระโดดไปยังฟอรั่ม
สารานุกรม
เทคโนโลยี
ธรรมะ
ประวัติศาสตร์
ธรรมชาติ
วิทยาศาสตร์
สังคม
แนะแนว-การเรียน
การเงิน-ธุรกิจ
คลังบทเรียน การศึกษา
ความรู้ทั่วไป
วิชาคณิตศาสตร์
วิชาภาษาไทย
วิชาภาษาอังกฤษ
วิชาสังคม
วิชาวิทยาศาสตร์
วิชาการงานอาชีพ
วิชาสุขศึกษา
วิชาศิลปะดนตรี
วิชาอังกฤษเพิ่มเติม
การเรียน
การเรียนให้ประสบความสำเร็จ
เทคนิคพัฒนาการความคิด
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบเข้าม.ต้น
แนวข้อสอบเข้าม.ปลาย
แนวข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย
ปิด
ปิด
เลือก
1
บทความ
เลือกทั้งหมด