เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

           วิชาเศรษฐศาสตร์ เป็นวิชาที่ศึกษาการนำเอาทรัพยากรที่มีอยู๋อย่างจำกัดมาจัดสรรจำหน่ายเพื่อบำบัดความต้องการของมนุษย์ในสังคมอย่างมีประสิทธิภาพ

ขอบเขตของเศรษฐศาสตร์
           1.เศรษฐศาสตร์มหภาค คือการศึกษาเสรษฐกิจของทั้งระบบได้แก่ รายได้ประชาชาติ ระดับราคาสินค้าและบริการทั้งหมดโดยทั้งไป เป็นต้น
           2.เศรษฐศาสตร์จุลภาค คือการศึกษาเศรษฐกิจของหน่อยย่อย เช่น การกำหนดราคาขายสินค้าแต่ละชนิด เป็นต้น


ความสำคัญของเศรษฐศาสตร์
           ทางเลือก เป็นสิ่งที่ทุกคนต้องเผชิญ และต้องนำความรู้ทางเศรษฐศาสตร์ในการตัดสินใจเลือกสินค้าและบริการที่ทำให้เกิดความพอใจสูงสุด
ทรัพยกรการผลิต หมายถึง ทรัพยากร ที่นำมาผลิตสินค้าและบริการ เรียกอีกอย่าง หนึ่งว่าปัจจัยการผลิต แบ่งเป็น 4 ประเภทคือ ที่ดิน แรงงาน ทุน

  • ที่ดิน จะ มีผลตอบแทนคือ ค่าเช่า
  • แรงงาน จะมีตอบแทนคือ ค่าจ้าง
  • ทุน จะมีผลตอบแทนคือ ดอกเบี้ย
  • ผู้ประกอบการ จะมีผลตอบแทนคือ กำไร
{{ message }}

{{ 'Comments are closed.' | trans }}