เรื่องสับเซตและการกระทำทางเซต(set)

สับเซต
            A ⊂ B
เซต A เป็นสับเซตของ B ก็ต่อเมื่อเมื่อสมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B เช่น
            A = {2,5}
            B = {1,2,3,4,5}
            ดังนั้น A ⊂ B

            A ⊄ B
เซต A เป็นไม่เป็นสับเซตของ B ก็ต่อเมื่อสมาชิกของ A อย่างน้อย 1 ตัวไม่ใช่สมาชิกของ B เช่น
            A = {7,9}
            B = {6,10,15,2,5}
            ดังนั้น A ⊄ B

สิ่งที่ควรรู้
            1.∅ ⊂ A "เซตว่างเป็นสับเซตของทุกเซต"
            2.A ⊂ A "ตัวมันเองเป็นสับเซตขอตัวมันเอง"
            3.ถ้า n(A)=k จำนวนสับเซตของ จะมีทั้งหมด 2 ยกกำลัง k เซต
            สับเซตแท้ คือเซตอะไรก็ได้ที่ไม่ใช่ตัวมันเอง สูตร 2 ยกกำลัง n ลบ 1

เพาเวอร์เซต
            เพาเวอร์เซตของ A คือเซตสลับทั้งหมดของ A โดยใช้สัญลักษณ์ P(A)
            ตัวอย่างการหาเพาเวอร์เซต
            A ={a,b} จะได้ P(A) = { ∅,{a},{b},{a,b} }

การกระทำทางเซต (Set)
1.ยูเนียน (Union) คือการเอาของเซตมาชนกันหรือสมาสกัน เช่น
            A = {1,4,6} B = {8,7,6}
            จะได้ว่า A ⋃ B ={1,4,6,8}

2.อินเตอร์เซกชัน (Intersection) คือการเอาตัวที่ซ้ำกันเช่น
            A = {1,4,6} B = {8,7,6}
            จะได้ว่า A ⋂ B = {6}

3.ผลต่าง(Difference) คือการหักเอาตัวที่ซ้ำออกเช่น
            A = {1,4,6} B = {8,7,6}
            จะได้ว่า A - B = {1,4}

4.คอมพลีเมนต์ (Complement) คือการไม่เอาเช่น
            A’ คือ เอาทุกตัวที่ไม่ใช่ A
{{ message }}

{{ 'Comments are closed.' | trans }}