ไตรลักษณ์ :: อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา

ไตรลักษณ์ หมายถึงลักษณะ 3 ประการของชีวิต ชีวิคทุกชีวิตต้องมีลักษณะ 3 ประการนี้ เหมือนกันทั้งหมด จึงเรียกลักษณะทั้ง 3 ประการนี้ว่า สามัญลักษณะ ซึ่งหมายถึงลักษณะทั่วๆไปปรือลักษณะที่เสมอกัน เท่ากัน หรือเหมือนกันของชีวิตได้แก่

1.อนิจจตา หรือ อนิจจัง คือ ความไม่เที่ยงตรง ความไม่คงที่หรือความเปลี่ยนแปลงโดยทุกสิ่งจะเปลี่ยนแปลงทุกขณะไม่มีอะไรคงที่ เมื่อเกิดขึ้นแล้วก็จำค่อยๆ แปรสภาพไปเรื่อยๆและดับหรือสลายตัวไปในที่สุด ดังตัวอย่างชีวิตของคนเราจะเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ ตามลำดับ จะกระทั่งตาย

Gerund ทำให้กริยาอยู่ในรูปนาม

Gerund หรือ กริยานาม คือ Verb (กริยา) ที่นำมาทำให้เป็นคำนามโดยการเติม –ing เข้าไปยังกริยานั้นๆ โดยเราสามารถนำ Gerund มาวางไว้ได้ทั้ง หน้า กลาง และ หลังประโยค

Verb + - ing = Noun


แต่ ต่างกับ Preposition ที่ เติม -ing แล้ว
Preposition เป็น adjective แต่ Gerund จะเป็น noun

รูปแบบประโยคที่กล่าวถึงอนาคต

1.intention      ความตั้งใจ
รูปแบบประโยค be going to
เช่น We are going to buy a new house next year
      พวกเราตั้งใจจะซื้อบ้านใหม่ในปีหน้า

2.spontaneous / predictions ตัดสินใจในทันที / การคาดเดา หรือ เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอย่างแน่นอนแต่เราไม่สามารถควบคุมได้